Business and public policy: Competing in the
Political Marketplace
การบริหารเชิงกลยุทธ์เป็นเกี่ยวกับความพยามยามขององค์กรที่จะแสวงหา
และสร้างคุณค่าให้กับองค์กร จากโอกาส ซึ่งโอกาสนั้นแตกต่างกันตามภูมิภาค
ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของสถานที่ตั้งขององค์กรนั้นๆ เจ้าของรางวัล Nobel Douglas North ได้ให้คำนิยามของสภาวะแวดล้อมแบ่งออกเป็นสองแบบ เรียกว่าแบบ formal
และ informal (North, 1994, 1990) โดย formal
หมายถึง กฏระเบียบ กฏหมาย นโยบาย สิ่งที่มีการบังคับใช้ แต่ informal
หมายถึง ประเพณี ค่านิยม สิ่งที่มีผลต่อจิตใจ ที่บัญญัติในแต่ละประเทศ
ดังนั้นองค์กรหนึ่งที่มีกิจกรรมต่ออีกองค์กรหนึ่ง ผันแปรจากคู่แข่งขัน supplier
เป็น พรรคการเมือง และกลุ่มที่สนใจ
การดำเนินการในสภาพแวดล้อมเหมือนกันย่อมส่งผลต่อโอกาส ที่เหมือนกัน
มีการวิจัยมากมายที่อธิบายถึง ความพอดีระหว่าง องค์กร กับปัจจัยภายนอก Nohria
and Ghoshal, 1994; Venkatraman, 1989)
เมื่อสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม โอกาส หรืออุปสรรค
ถึงสร้างบนพื้นฐานของการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นแนวคิดของธุรกิจ แบบ static ไม่เหมาะสมเท่ากับแนวคิด dynamic ความถี่ของ action
ที่สร้างจุดแข่งขั้น เพื่อจะคาดหมาย reactions เพื่อเปลี่ยนสภาวะแวดล้อม (Ferrier, Smith, and Grimm, 1999;
Smith, Grimm, and Gannon, 1992) ในสภาวะแวดล้อมแบบ dynamic โอกาสหรืออุปสรรคจะค่อยๆ ปรากฏขึ้นจาก interactions ระหว่างองค์กร
กับองค์กรอื่น และกับสภาพแวดล้อม
เพราะว่า formal ที่กล่าวแล้วถูกสร้างจาก conscious
และ informal ไม่ ซึ่ง formal เป็นอะไรที่เปลี่ยนแปลงได้ง่ายกว่า องค์กรที่ค้นหาโอกาสใหม่ๆ
โดยการเปลี่ยน formal เช่น MCI Corporation ได้ lobby US federal regulations ให้เปิดเสรีโทรทางไกล
ทำให้ MCI ได้ตลาดใหม่ ในประมาณปี 1980s ได้มีความพยายามใช้สกุลเงินรวมกันของ EU เพื่อลด internal
barrier เป็นสิ่งที่หลายๆ ประเทศใน EU ร่วมกันทำเพื่อลด
transactions cost ของการค้าและ utilize เศรษฐกิจของ EU และ การหารือในสภา Congress
US ในการก่อตั้ง permanent normal trade relations กับจีน เป็น กิจกรรมที่สนับสนุนโดยหลายๆ ธุรกิจ เช่น Starbucks และ Avon Products ซึ่งต้องการสร้างโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ
(Maggs, 2000; Scrivo, 2000).
ในบทนี้เราจะพิจารณา 3 ทางเลือก
การทำงานร่วมกันของกลยุทธ์การเมือง เหมือนกันกิจกรรมส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ธุรกิจ Schendel
and Hofer (1979) ได้นิยาม
กลยุทธ์องค์กรคือความพยามที่จะรวมเอาธุรกิจ เข้ากับสภาวะแวดล้อมที่ควบคุมไม่ได้
ขยายความมุมมองนี้คือ สภาพแวลล้อมทางธุรกิจที่ต้องทำงานร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นกฎหมาย
นโยบาย หรือบทบังคับต่างๆ ซึ่งกลยุทธ์องค์กรที่ต้องทำงานร่วมกับ formal เหล่านี้เรียกว่า “non-market strategy” และยังคงเป็นข้อถกเถียงกันว่าธุรกิจจะได้ประโยชน์
จากการรวมกันของกลยุทธ์ market และ non-market หรือไม่
ในตอนต่อไปเราจะเริ่มพิจารณาว่าเหตุใดกลยุทธ์ทางการเมืองจึงไม่รวมอยู่ในกลยุทธ์ธุรกิจ
และจะได้ติดตามการนิยามจากการวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่าความพยายามเรื่องการตัดสินใจนโยบายสาธารณะควรเป็นส่วนหนึ่งของทั้งแผนกลยุทธ์องค์กร
บทบาทต่อไปของความสามารถของธุรกิจที่จะใช้หลายๆ กลยุทธ์การเมืองจะถูกอภิปราย
และในที่สุดจะสรุปย่อยถึงความแตกต่างของสถาบัน สามารถมีผลต่อโอกาส
สำหรับธุรกิจที่พยายามเปลี่ยนกฏหมาย หลักเกณฑ์ และนโยบาย
Why Is Political Strategy Often not Included as
Part of Business Strategy?
เมื่อรัฐ ได้เริ่มทำนโยบาย
หรือกฎหมายใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่ เช่น สิทธิการถือครองที่ดิน
การกีดกันทางการค้า การควบคุมสิ่งแวดล้อม นโยบายการแข่งขัน การฝึกฝีมือแรงงาน
กำหนดมาตราฐานสถานที่ทำงานปลอดภัย หรืออื่นๆ
การตัดสินใจนั้นมีผลโดยตรงไปยังแต่ละบริษัทฯ ไม่ว่าจะเป็นการดำเนินงาน หรือโอกาส
ในการทำธุรกิจ Poter ได้เรียกสิ่งนี้ว่า
external factor นักวิจัยเรื่องกลยุทธ์ทั้งหมดเข้าใจถึงความสำคัญของนโยบายรัฐ
และหลายๆ กระแสหลักของการวิจัย ซึ่งยังคงเป็นที่สงสัยกระบวนการโดยแต่ละ นโยบายเป็น
ความเด็ดขาดแน่นอนเหมือนกับ ออกซิเจน ในสิ่งแวดล้อม ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น
บางทีเพราะว่าหลายๆ
นักวิจัยกลยุทธ์มีพื้นฐานในอุตสาหกรรม องค์กรทางเศรษฐศาสตร์และนักเศรษฐศาสตร์หลายๆ
คนก็ไม่ได้สนใจกระบวนการที่นโยบายของรัฐ บังคับใช้
ถ้าเราพิจารณาหนังสือเศรษฐศาสตร์หลายๆ เล่มก่อนปี 1990 ได้มีการอภิปรายกันอย่างเด่นชัดของกระบวนการการเมือง
เหมือนกับกลยุทธ์การแข่งขัน หรือมาตราการทางการค้า
น้อยมากที่จะเขียนถึงกระบวนการในการเลือกนโยบาย การบังคับใช้ หรือการเปลี่ยนแปลง
มีวิจัยอีกหลายชิ้นเป็นที่น่าสนใจ
และวิธีการที่สำคัญที่แสดงให้เห็นในงานครั้งนี้คือ กรอบแนวคิดของ
กระบวนการการเมือง ที่ถ่ายโอนระหว่าง actor และมันใช้อธิบายได้อย่างมากมายในจุดนี้
มันเป็นการแข่งขันระหว่าง ตัวองค์กร
กลายเป็นการตัดสินใจทางการเมือง และนี่เป็นการแข่งขันระหว่างการค้นหา ที่กลายเป็น suppliers ของ นโยบายสาธารณะ
ในบทบัญญัติด้านอุปทาน
The Public Policy Process and Business Strategy
มีการยอมรับถึงความสำคัญของกิจกรรมการเมืองขององค์กร
ที่กำหนดเหมือนกับทุกกิจกรรมโดยธุรกิจออกแบบที่จะโน้มน้าวการตัดสินใจของรัฐ
ผู้บริหารที่ประสบความสำเร็จต้องเข้าใจกระบวนการนโยบายสาธารณะ
และสามารถทำนายศักยภาพที่จะมีประโยชน์ ในประเด็นที่เกิดขึ้น
การทำงานในด้านอุปสงค์ของนโยบายสาธารณะ
ธุรกิจต้องเกี่ยวข้องกับ กิจกรรมทางการเมืองเพื่อพยายามจะรักษา
หรือทำให้ผลประโยชน์ยั่งยืน
หรือสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันทั้งในประเทศและต่างประเทศ
เป้าหมายขององค์กรมีหลายอย่างเช่นการเพิ่มขนาดตลาด หรืออำนาจการต่อรอง ที่เกี่ยวกับ
suppliers เพื่อลดต้นทุน
และลดอุปสรรคของคนที่จะเข้ามาใหม่ในตลาด และผู้ได้รางวัล Nobel อีกคนหนึ่งได้กล่าวว่า
มีสี่กลุ่มของผลประโยชน์ที่องค์กรจะได้รับจากการป้องกันโดยใช้นโยบายการเมือง
คือป้องกันผู้อื่นเข้ามาในตลาด และการกำหนดราคา
ที่ผ่านๆมาองค์กรพยายามจะปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมเพื่อความได้เปรียบในการแข่งขัน
องค์กร และกลุ่มแข่งขัน ต้องเข้ากับนโยบายให้ได้ จากการศึกษาหลายๆ
องค์กรมีเป้าประสงค์ร่วมกัน และแข่งขันกับผู้สนใจภายนอกเท่านั้น ในกรณีอื่นๆ
สมาชิกของอุตสาหกรรม มีความแตกต่างกันจึงมีการกระทบต่อนโยบายต่างกัน
Political Competencies and Firm Advantages in
the Political Marketplace
การที่องค์กรมีทรัพยากรณ์มาก
ทำให้องค์กรมีความสามารถ และสามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันได้ก็จริงอยู่
แต่ความสามารถในด้านการเมืองเป็นเรื่องที่ ทฤษฎีทรัพยากรณ์ไม่สามารถอธิบายได้
เพราะความสามารถในการเล่นการเมืองขององค์กรขึ้นอยู่กับความสามารถในการเข้าถึงผู้ตัดสินใจ
และผู้กำหนดนโยบายทางการเมือง ดังนั้น สนามการเมืองจึงแตกต่างไปจากสนามการค้า เรียกว่า non market asset
การที่องค์กรมีความน่าเชื่อถือ
มีชื่อเสียง เช่นการทำ green strategy ,green customer จะสร้างความหน้าเชื่อถือให้กับ การเมือง และผู้บัญญัติกฏหมาย
ผู้ซึ่งกำหนดรูปแบบสภาวะแวดล้อมในอนาคต ทั้งความสามารถ
และทรัพยากรณ์ที่มีสามารถสร้างความได้เปรียบและจะทำให้เกิดความยากลำบากต่อองค์กรอื่น
ดังนั้นความสามารถในด้านการเมืองสร้างความได้เปรียบทางธุรกิจให้กับองค์กรได้
และความสามารถของธุรกิจ เช่นการมีทรัพยากรณ์ เงิน อำนาจการต่อรอง จะสร้างความสามารถในด้านการเมือง
ซึ่งสามารถจะพัฒนา หรือหายไปจากองค์กรได้
Corporate Political Actions
การดำเนินการด้านการเมืองขององค์กรมี
3 ระดับคือ
การทำเป็นหมู่คณะ การทำโดยองค์กรเดียว และการกระทำโดยคนเดียว กับองค์กรเช่น
ผู้บริหารระดับสูง ซึ่งทำให้แบ่งการเข้าถึงได้ 3 แบบ คือ bottom-up
คือจากผู้ปฏิบัติคือองค์กรแต่ละองค์กรไปสู้ผู้ตัดสินใจ และแบบ Top-down
คือจากนโยบายกำหนดลงมาให้ปฏิบัติ และแบบสุดท้ายเรียกว่า evolutionary
เป็นการพัฒนารูปแบบของพฤติกรรมในเวลาที่ผ่านมา
รูป 21.1 วัฏจักรของประเด็นที่มีผลกระทบ และโอกาสที่จะโน้มน้าวในประเด็นนั้น
เริ่มตั้งแต่ การเปิดประเด็น ไปสู่ วาระของกลุ่มองค์กร และมีการขยายความสนใจ
จนพิจารณาร่างกฏหมาย ผ่านกฎหมาย มีการกำหนดบทของกฎหมาย และการประกาศใช้
ซึ่งองค์กรจะมีผลกระทบจากน้อยไปมาก
หมายถึงองค์กรจะมีผลกระทบมากที่สุดเมื่อมีการประกาศบังคับใช้ ในขณะที่
นโยบายสาธารณะที่มีผลกระทบกับองค์กรจะมีจากมากไปหาน้อย คือเมื่อเริ่มประเด็น
นโยบายสาธารณะจะมีผลกระทบกับองค์กรมากที่สุด
และลดลงจนต่ำที่สุดเมื่อมีการประกาศใช้ เช่นเมื่อประเด็นเริ่มต้นอาจมีการเผยแพร่ใน
social media ต่างๆ
และหากประเด็นดังกล่าวยังเป็นที่สนใจก็จะพัฒนาไปสู่การพูดคุยกันในกลุ่มขององค์กร ซึ่งประเด็นดังกล่าวมีผลกระทบและยังคงมีความสำคัญอยู่ก็จะเข้าสู่กระบวนการพิจารณาให้ออกเป็นกฎหมายเพื่อบังคับใช้ในที่สุด
The Institutional Context of Business Political
Action
North's (1994) ได้ให้
3 ส่วนหลักของ framework เพื่อให้เข้าใจถึง
institutional setting ของแต่ละการดำเนินธุรกิจ
ไว้ในตอนต้นของบทนี้แล้ว มันเป็นการทำงานร่วมกันขององค์กรกับ formal และ informal institutional ที่อธิบายสภาพแวดล้อม
ในเวลาต่างๆ และในพื้นที่ที่ต่างกัน framework นี้จะช่วยให้กำหนดคุณลักษณะสำคัญของ
สภาพแวดล้อมของธุรกิจที่มีผลต่อการเลือกและประสิทธิภาพที่ต่างกัน ของศักยภาพการวางกลยุทธ์ทางการเมือง
และ tactics ซึ่ง formal institutional เป็นสิ่งที่มีลักษณะเด่นชัด เช่น กฎหมาย ข้อบังคับ ในแต่ละประเทศ
จะช่วยกำหนดโอกาสของธุรกิจ ในเวลานั้น ธุรกิจจะเกี่ยวพันในความพยายามที่จะเปลี่ยน
หรือต้านการเปลี่ยน ใน formal institutional เหมือนกับหนทางที่จะสร้าง
หรือป้องกัน โอกาส บาง formal institutional เป็นรากฐานสำคัญที่กำหนดกฎการตัดสินใจที่มีผลกระทบโดยตรง
บนทางเลือกของกลยุทธ์การเมือง โดยธุรกิจ และองค์กรอื่นๆ
ค้นหาอิทธิพลของการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ เช่น Hillman and Keim
(1995) ได้แสดงให้เห็นทางที่แตกต่างของระบบรัฐสภา และ อำนาจของประธานาธิบดี
ที่ทำงานโดยกำหนดโอกาสที่ต่างกันขององค์กร หรือกลุ่มอิทธิพลทางการเมือง
ในระบบรัฐสภากระทรวงจะมีความสำคัญในการกำหนดนโยบาย
มากกว่าคณะรัฐมนตรี
การทำงานระหว่างธุรกิจ และรัฐ
เป็นการทำงานระหว่าง คน
เมื่อกลยุทธ์องค์กรเป็นการพิจารณาโดยการปฏิบัติด้านการเมือง ที่มีผลต่อการตัดสินใจ
Informal institutional คือ ธรรมเนียม ค่านิยมของประชาชน ที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ ในระบบรัฐสภา
หลายๆ กรณีที่ individual business ตลอดจนกิจกรรมของผู้บริหารการเป็นการสมาคมกับกลุ่มทางการเมือง
ซึ่งนี่ไม่เป็นปรกติใน USA ที่จะพิจารณาความเสี่ยงโดยทำงานร่วมกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งอย่างใกล้ชิด
Different institutional เกิดจากผู้ดำเนินองค์กรที่ต่างกัน เป็นข้อเสนอแนะอยู่เหนือ องค์กร
บ่อยครั้งที่ขับเคลือนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ยกตัวอย่างเช่นใน
เยอรมันนี สหภาพกรรมกร เป็นองค์กรที่ใหญ่ และเป็นสัดส่วนของแรงงานส่วนใหญ่
มากกว่าใน สหรัฐอเมริกา และมีศักยภาพที่จะชี้นำให้รัฐบาลต้องรับฟัง
และเกิดการเปลี่ยนแปลงในที่สุด
การทำงานร่วมกันของทั้งสาม institutional บนสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
สามารถแสดงให้เห็นได้ ดังตัวอย่าง จากการศึกษาเมื่อไม่นานมานี้ของ 47 national
economics Canada และ Austria อยู่ในอันดับ 3
และ 1 ที่แสดงให้เห็นถึง เรื่องคุณภาพชีวิตที่วัดโดยการสำรวจประชากร
Canada และ Austria มีระดับเท่าๆ กัน
ของรายได้ประชากร และอยู่ในอันดับ 10 และ 11 ในการสำรวจมิตินี้ เปอร์เซนต์ของคนวัยทำงานเท่าๆ กัน
ในแต่ละประเทศจะมีความหลากหลายคล้ายกันของแรงงานที่อยู่ใน สหภาพแรงงาน แต่ Austria
มีการนัดหยุดงานน้อยที่สุด อยู่ในอันดับหนึ่งในขณะที่ Canada
อยู่ในอันดับท้ายๆ เพราะเหตุใด
ใน Austria เน้นการทำงานร่วมกันของแรงงาน และผู้บริหาร
เป็น social partnership การทำงานแบบนี้เป็นบทเรียนหลังจากที่เกิดสงครามกลางเมืองอย่างดุเดือดในปี
1930s หลังจากที่สงครามโลกครั้งที่สองจบลง Austria ได้แบ่งพื้นที่บางส่วนให้รัสเซีย ในเขตทางเหนือของ Danube river และ พันธะมิตรตะวันตก ควบคุมทางใต้ของประเทศ
การร่วมประเทศต้องการความร่วมมืออย่างมากเพื่อให้มั่นใจว่าความต้องการของทั้งสองฝ่ายในสงครามเย็น
จะลงตัวได้ การสนับสนุนความร่วมมือกันหลังสงคราม รัฐบาลได้สร้าง
สมาชิกปกครองในองค์กร ที่จะเป็นตัวแทน และใส่ใจในการทำงานทั้งหมดของธุรกิจ สภาผู้แทนฯ
เป็นสิ่งที่เรียกกันในเวลาต่อมา ซึ่งเป็นองค์กรสำคัญ ที่เป็นตัวแทนที่ถูกเลือกโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
เพื่อหาความเห็นพ้องต้องกันและเป็นสิ่งสำคัญของคำถามของนโยบายเศรษฐกิจ ใน Austria
การค้นพบหลักการทำงานร่วมกันมีคุณค่ามาก และสามารถแยกปัญหา
ซึ่งยังคงคุณค่าสำหรับ Austria จนถึงวันนี้
และนี่เป็นตัวอย่างที่สำคัญที่องค์กรเป็นผู้เล่นในกระบวนการนโยบายสาธารณะ
และองค์กรสภาผู้แทนฯ ซึ่งผลมาจากความต้องการ formal institutional ของสมาชิกสภาผู้แทน สำหรับลูกจ้าง
และผู้ประกอบการณ์ ความสำคัญของ informal institutional เน้นการทำงานร่วมกัน
เหมือนประเพณีสังคม ซึ่งพัฒนาหลักจากสงครามกลางเมือง และสงครามโลก
และประเพณีนี้เองได้ซึมเข้าไปในวัฒนธรรม และป้องกันไม่ให้ ลูกจ้าง และนายจ้างขัดแย้งกัน
Conclusion
สำหรับทุกองค์กรธุรกิจ
การสร้างกลยุทธ์ จำเป็นต้องสร้างทางเลือก บนพื้นฐานของการวิเคราะห์
โดยละเอียกจากธุรกิจ และสภาวะแวดล้อมทางธุรกิจ เพื่อจะดำเนินการ หรือค้นหาวิธีดำเนินการ
บทสรุปของบทนี้คือ formal institutional เป็นส่วนหนึ่งของสภาวะแวดล้อม เช่น กฏหมาย นโยบายรัฐ การกำกับดูแล
และการบังคับใช้ เป็นสิ่งที่จะเปลี่ยนแปลงไป ด้วยการทำงานขององค์กรต่อสภาวะแวดล้อม
โอกาสในวันพรุ่งนี้เป็นผลจากการกระทำในวันนี้
ดังนั้นองค์กรควรจะคิดเกี่ยวกับการสร้างโอกาส โดยการพยายามเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อม
และควรคิดว่าองค์กรอื่นๆ จะมีความพยายามเปลี่ยนสภาวะแวดล้อมไปอย่างไร
สำหรับมุมมองของการวิจัยด้านการจัดการ
3 กระแสหลักที่รวมกัน
ประการแรก คือความเข้าใจของ institutional ของสภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
เหมือนเป็นการพัฒนา institutional ใหม่ๆ เช่นที่ Douglas
North ได้แนะนำไว้ ประการที่สอง
มุมมองทางเลือกของสาธารณะของกระบวนการทางการเมืองที่จะเป็นสถานะการแข่งขัน
เป็นการวางแผนอย่างละเอียด ประการสุดท้าย การวิจัย กิจกรรมทางการเมืองของธุรกิจ
และเน้นเป็นพิเศษเฉพาะองค์กร
เมื่อรวมทั้งสามแบบเข้าด้วยกันแล้วหวังอย่างยิ่งว่าจะสะดวกต่อผู้ทำวิจัย
ที่จะศึกษาศักยภาพของสภาวะแวดล้อมการเมืองของ ธุรกิจ เป็น
สิ่งที่ไม่ได้เกิดภายนอกระบบ แต่เป็นส่วนสำคัญของการกำหนดและสร้างกลยุทธ์
และการวิจัยต่อไป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น