Corporate Strategy and Ethics, as Corporate
Strategy comes of age
ในยุค 1980s เศรษฐกิจมีภาวะแข่งขันสูง
ราวกับว่าจะเข้าสู่ยุคของการแข่งขันสมบูรณ์ องค์กรธุรกิจต่างๆ
ได้มีการใช้กลยุทธ์องค์กร เพื่อแสวงหากำไร จนดูเหมือนเป็นการโฆษณาเกินจริง
นักวิชาการจึงเริ่มมีการพูดถึงจริยะธรรมในการใช้กลยุทธ์ต่างๆขององค์กร
เมื่อยี่สิบกว่าปีก่อน Kenneth Andrews (1980) ได้พูดถึงความเชื่อมโยงระหว่าง
กลยุทธ์องค์กร กับ จริยะธรรม โดยได้พูดถึงคุณค่า 3 ประการ คือ
“เกมส์คือคุณค่าของการเล่น ชัยชนะคือคุณค่าของการค้นหา
และ ชีวิต กับอาชีพ คือคุณค่าของการดำรงชีวิตอยู่”
มีตำรามากมายที่กล่าวถึงการใช้จริยะธรรมเป็นปัจจัยในการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์
นักคิดที่สำคัญในเรื่องนี้คือ Andrews ได้กล่าวว่า CEO กำเนิดจากวัตถุประสงค์
เช่น เรื่องคำจำกัดความของ CEO โดยเขากล่าวว่าเป็นผู้มีจิตใจมุ่งมั่น
ทำงานที่มีคุณค่า และสร้างกลยุทธ์องค์กรที่หลักแหลม และ Hosmer ได้ติดตามความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์องค์กร และจริยะธรรม โดยเขียนหนังสือ Chester
Barnard ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งสร้างชื่อเสียงให้เขาอย่างรวดเร็ว
และยังมีงานหลายชิ้นที่น่าสนใจ แสดงให้เห็นว่าจริยะธรรมมีความจำเป็นที่ต้องใช้ในกลยุทธ์องค์กร
แต่จะใช้แบบไหนอย่างไรซึ่งจะได้กล่าวต่อไป
วัตถุประสงค์แรกของบทนี้
เป็นการสำรวจหาแนวความคิดในยุคเดียวกัน เกี่ยวกับ กลยุทธ์องค์กร และ จริยะธรรม
ใช้ร่วมกันได้จริง และอะไรเป็นการสอนจริยะธรรมที่ Andrews พูดถึงในยุคก่อน ประการแรก
การยืนยันคำตอบของคำถามดูเหมือนจะเป็นไปไม่ได้
การสนทนาในยุคเดียวกันเกี่ยวกับแนวคิดของ กลยุทธ์องค์กร เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นโดยภาษาทางเศรษฐศาสตร์
ปรัชชญาสังคม และชีวะวิทยา ไม่ได้เกิดจากจริยะธรรม (Hosmers,1994) อย่างไรก็ตามคนก็ยังเชื่อตาม Andrews ที่สอนว่า Corporate strategy
และ ethics สามารถมีจุดร่วมกันได้ คำกล่าวนี้ เป็น หลักของ เกมส์คือคุณค่าของการเล่น
ชัยชนะคือคุณค่าของการค้นหา และ ชีวิต กับอาชีพ คือคุณค่าของการดำรงชีวิตอยู่ ในบทนี้
เราจะพบบางส่วนของ เรา และการทำงานของเรา
หลักของบทนี้คือ กลยุทธ์องค์กร และ
จริยะธรรม เป็นการเชื่อโยงเหมือนกับปัจจุบัน ใน 3 ทางที่กล่าวหรือไม่ ประการที่สอง
ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์องค์กร และ จริยะธรรม รวมถึงการรวมตัวกันของการพิจารณาจริยะธรรม
ในกระบวนการการบริหารกลยุทธ์ ประการที่สาม ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์องค์กร และ
จริยะธรรม เป็นการวิจารณ์จริยะธรรม ที่ขับเคลือน ระหว่างกระบวนการบริหารกลยุทธ์
และ แนวทางของกลยุทธ์องค์กร ซึ่งการบริหารเชิงกลยุทธ์และ กลยุทธ์องค์กรไม่เหมือนกันในมุมมองของการวิจารณ์
วัตถุประสงค์ที่ 2 ของบทนี้เพื่อติดตามดูการพัฒนาของการวิจารณ์เรื่องจริยะธรรม
ของแนวคิดของกลยุทธ์องค์กรที่มีอายุมากว่า 20 ปี
เป็นเรื่องที่ติดตาม และสนใจของ ผู้วิจารณ์ โดยผู้วิจารณ์ไม่ได้เสียอะไรนอกจากเวลา
จากจุดยืนทั่วไปของผู้วิจารณ์ผู้ซึ่งถามถึงเรื่องจริยะธรรม ของกลยุทธ์องค์กร
และแนวคิดเรื่องกลยุทธ์องค์กรนั้นสำคัญเหมือนกันกับสิ่งที่เราเข้าใจ
The Strategic Management Process and Ethics
การเชื่อมโยงระหว่าง
กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ และจริยะธรรม กลายเป็นสิ่งที่ยอมรับกันในการศึกษาด้านบริหารในอเมริกา
และการยอมรับนี้แสดงให้เห็นโดยมีการเขียนในตำราหลายเล่ม
ซึ่งในตำราเหล่านั้นได้กล่าวถึงแนวคิดของ Andrews เป็นการปลุกเร้าให้ชีวิตเบิกบาน บนรูปแบบของ
คำสั่งสอน ที่กล่าวว่า ethics is useful as a modifying influence on
the strategic management process
ที่แรกที่เราพบกับ เรื่อง
การดัดแปลงจริยะเข้ากับกระบวนการทางกลยุทธ์ ใน ตำรา Strategic Management: Competitiveness and
Globalization, Hitt, Ireland, and Hoskisson (1999) รวมทุกอย่างใน 13
บทในรูปแบบเดียวกัน คือเริ่มต้นด้วย “Review Questions” ต่อด้วย “Application Discussion Questions.”และจบด้วย
“Ethics Questions” ตาม “Application Discussion Chapters.” ที่ๆ เหมาะสมกับ จริยะธรรม คือไม่เข้าใจผิดในรูปแบบ มันเป็นคำถามสำคัญ
ที่จะแสดงให้เห็นถึง กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ จริยะธรรม
ทำให้เกิดการปรับปรุงเป็นคำถามที่สำคัญกว่า
ในตำรา Strategic Management: Building and
Sustaining Competitive Advantage, Pitts and Lei (2000) 9 ใน 12 บทอธิบายแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์
ซึ่งร่วมถึงมุมมองทางจริยะธรรมด้วย อีกครั้งที่ตรรกะของความสัมพันธ์ชัดเจน
และบทเรียนหลักคือเรียนเรื่อง กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ และ
จริยะธรรมสอดแทรกในและบทเรียน ในตำรา
Strategic Management: Concepts and Cases, Thompson and Strickland (1999: 53–4) อภิปรายถึง “Three Strategy-Making Tasks.” และต่อไปที่การชี้ถึง
“The Factors that Shape a
Company's Strategy” การอภิปรายถึงจริยะธรรมเป็นช่วงสุดท้ายของบท
เมื่อเริ่มคิดเรื่องกลยุทธ์แล้วจึงนำมาพิจารณาในแง่มุมของจริยะธรรม
เราได้ย่ำเตือนถึงเรื่องสำคัญสำหรับการพิจารณาเรื่องจริยะธรรม
ในทุกๆ การตัดสินใจ ที่พยายามมีอิทธิพลกับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
เพราะผลกระทบดังกล่าวจะย้อนกลับมาสู้ลูกจ้าง
ชุมชน ดังนั้น ผู้บริหารองค์กรจึงต้องพิจารณาถึงจริยะธรรม และ การตอบสนองต่อสังคม
เพื่อบริหารผลกระทบที่จะย้อนกลับมาอย่างรอบครอบ
The proposition evolves
กระบวนการบริหารงานเชิงกลยุทธ์
เป็นตัวชี้ และเชื่อมความสัมพันธ์ของ กลยุทธ์องค์กร และจริยะธรรม
จนทฤษฏีมีความชัดเจน ซึ่งก่อนหน้านี้ดูเหมือนจะเป็นคำถามที่หาคำตอบอยู่
เมื่อยี่สิบปีก่อน George Steiner, John Miner, และ Edmund Gray, ร่วมกันเขียน Management
Policy and Strategy (1982: 8) ตำรา, การอภิปราย
เน้นถึงสิ่งที่เด่นชัน บน “organizational obligations to society.” หรือ พันธ์ขององค์กรต่อสังคม
และการกล่าวถึงนี่เองที่กำหนดบทบาทหลักขององค์กรใหม่
และเป็นปัญหาเชิงกลยุทธ์ขององค์กรด้วย เมื่อยื่สิบปีก่อน Steiner, Miner, and Gray
ถึงความสงสัยเกี่ยกับ กลยุทธ์องค์กร และจริยะธรรมว่าเข้าได้ได้หรือไม่ และความสงสัยนี้ได้ถูกแทนที่อย่างเชื่อมั่น
ในตำราด้านการบริหารเชิงกลยุทธ์
ว่าจริยะธรรมสามารถดัดแปลงให้เข้ากับกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ ได้เป็นอย่างดี
Perspective
ความเชื่อมโยงระหว่าง กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์
และจริยะธรรม เป็นเหมือนกับวินัยที่สร้างความปลอดภัย ด้วยเหตุผล 3 ประการคือ ประการแรก
ที่เป็นเหมือนวินัยที่สร้างความปลอดภัยเนื่องจาก
กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์จะไม่เปลี่ยนแปลงไปแม้ว่าจะนำจริยะธรรมเข้ามาร่วมด้วย
ประการที่สอง กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์
และจริยะธรรม เป็นเหมือนกับวินัยที่สร้างความปลอดภัย เพราะว่า
จะได้รับการสนับสนุนจากสังคมและชุมชน
ประการที่สาม
กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ และจริยะธรรม เป็นเหมือนกับวินัยที่สร้างความปลอดภัย
เพราะว่ามันเป็นการเพิ่มผู้บริหารทุน กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์
เป็นเสมือนคัมภีร์ ที่จะนำไปปฏิบัติ ผู้บริหารกลยุทธ์ ชั้นนำจะวางแผนสร้างแรงจูงใจ
และควบคุม ในนามของผู้รับมอบอำนาจจากผู้ถือหุ้น
However
ตั้งแต่ Andrews เชื่อมโยง
กลยุทธ์องค์กรเข้ากับ จริยะธรรม ก็เริ่มมีการสิ่งกีดขวาง ที่เริ่มกระจัดกระจาย ในเรื่องของการมีวินัยเป็นความปลอดภัย
ซึ่งทำให้ จริยะธรรม สามารถดัดแปลงให้แทรกซึมเข้ากับกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์
โดยการแทกรซึมนี้มีผู้สงสัยว่าทั้ง จริยะธรรม
และกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์นั้นเป็นแนวคิด ซึ่งทำหน้าที่เท่าๆกัน
The Strategic Management Process as
Applied Ethics
LaRue Hosmer (1994) และ Alan Singer (1994) ต่างก็ไม่ได้กล่าวว่าจริยะธรรมจะเพียงแค่ดัดแปลงลงไปในกระบวนการบริหารเชิงยุทธ์ศาสตร์
แต่กินความหมายที่กว้าง และลึกกว่านั้น
Hosmer (1994:19-20) ได้แปลกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์
เข้าไปในปัญหาต่อเนื่องของการเรียงลำดับความคิดของ อันตราย และผลประโยชน์
ที่มาพร้อมกับการตัดสินใจ
… the trust, commitment and effort
on the part of all of the stake-holders of a firm are as
essential to the success of that
firm as are the competitive advantages and strategic
positions of its planning process …
Hosmer (1994:32) ได้สรุปคำสอนนี้ว่า ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ที่พัฒนาความไววางใจในทิศทางที่ธุรกิจจะ แสดงพันธะสัญญาในอนาคต
และพันธะสัญญาในอนาคต ของธุรกิจสามารถรองรับได้ เป็นทั้งการทำงานร่วมกันและ
นวตกรรม
Singer (1994: 200) เชื่อม จริยะธรรม และ กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ บนพื้นฐานที่ทั้งสอง
เป็นเหตุผลในกระบวนการตัดสินใจ
Perspective
การทำงานของ Hosmer และ Singer
ต่างก็ฉีกออกจากความเชื่อเดิมๆ ที่กำหนดว่าจริยธรรม
มีบทบาทเพียงดัดแปลงให้เข้ากับ กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ โดยเขาเชื่อว่า
จริยธรรมไม่ได้ดัดแปลงให้เข้ากับกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ แต่ เหตุผล
ของจริยะธรรม มีอิทธิพล ต่อกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์
Hosmer และ
Singer ได้แสดงให้เห็นว่าจริยะธรรมเป็นเบื้องหน้าและฉากหลังของ
กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์
Shorthand notation
บทนี้เราต้องการขยายความว่าอะไรคือ
จุดหักเหที่ กลยุทธ์องค์กร และจริยธรรม มาเกี่ยวข้องกัน และมันค่อยๆ ปรากฏใน
สหรัฐอเมริกา ผู้เขียนใช้ “ethical criticism of
corporate strategy” หรือ ECCS
ซึ่งเป็นทางที่สะดวกที่จะอ้างถึง ECCS ไม่ใช่คำปกติที่ใช้ทั่วไป
แต่หมายถึง กระแสหลักของการทำวิจัยด้าน กลยุทธ์องค์กร
Ethical Criticism and Corporate Strategy
ECCS เป็นการทำเพื่อ
ยืนยันเกี่ยวกับแนวคิดของ กลยุทธ์องค์กร และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ร่วมถึงกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์
การวิจารณ์เป็นศิลปะ
วิจัยเรื่องกลยุทธ์องค์กรเป็นวิทยาศาสตร์ทางสังคม ซึ่งต่างกันมาก
อย่างหลังจะมีคนรู้มากกว่ารูปแบบในการศึกษากลยุทธ์องค์กร ดังนั้นการขยายความแบบย่อเป็นการวิจารณ์ว่าอะไรคือกิจกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกัน
The act of criticism
หากการวิจารณ์คือการแปลความตามตัวอักษรแล้วเราอาจจะพลาดความหมายเชิงนัยของงานเขียนเหล่านั้น การวิจารณ์คือการใช้สัญชาติญาณในการคิดว่าอะไรคือความหมายที่แท้จริง
และตีความถึงความหมายเชิงนัยได้อย่างถูกต้องและครบถ้วนตามความประสงค์ของผู้เขียน
The act ethical criticism of
corporate strategy, in three layers
การวิจารณ์จริยธรรมในกลยุทธ์องค์กรเป็นศิลปะ
และการกระทำที่ผสานกันของการฝึกฝนของการวิจารณ์ การศึกษาเรื่องจริยธรร
และจุดสมดุลย์ของแนวคิดเรื่อง กลยุทธ์องค์กร สามารถฝึกฝนได้ด้วยการฝึกฝนทางธุรกิจ
การวิจารณ์จริยธรรมในชั้นของการกระทำเป็นการวิจารณ์โดยตั้งสถานะสำหรับจริยธรรม
และตั้งสถานะของการยืนยัน ความเชื่อในศักยภาพของปัญญาของแนวคิดกลยุทธ์องค์กร
แบ่งเป็น 3 ลำดับชั้น
ชั้นแรก
การวิจารณ์จริยธรรมของกลยุทธ์องค์กร เป็นการวิจารณ์ในความรู้สึก ที่ ECCS นักวิจารณ์ชำนาญในสิ่งที่เขารู้เช่น
การวิจารณ์หนังสือ การวิจารณ์ภาพยนตร์ วิจารณ์อาหาร เป็นต้น
ชั้นที่สอง การวิจารณ์จริยธรรมของกลยุทธ์องค์กร
เป็นการวิจารณ์ในความรู้สึก ที่ ECCS นักวิจารณ์กล่าวถึงกระบวนการ ตั้งสมมุติฐาน
ตรรกะของความสัมพันธ์กันระหว่าง a กลยุทธ์องค์กร b ทฤษฏีทางจริยธรรม
ชั้นที่สาม การวิจารณ์จริยธรรมของกลยุทธ์องค์กร
เป็นการวิจารณ์ในความรู้สึก ที่ ECCS เป็นการตั้งสองสมมุติฐาน ของกลยุทธ์องค์กร a
ความรู้ทั้งหมดเรื่องพันธะสัญญา b จะเป็นเกิดขึ้นจนกว่า
ศูนย์กลาง การยอมรับคำสอนของ กลยุทธ์องค์กรไม่มีความท้าทาย
The Challenges of Affirmative
Ethical Criticism of Corporate Strategy
ความท้าทายในการยืนยัน
การวิจารณ์จริยธรรมของกลยุทธ์องค์กร ต้องเผชิญกับเรื่องสำคัญ 2 เรื่องคือ ประการแรกคือจะผสมผสานภาษาของลูกค้า
ภาษาธุรกิจ และภาษาทางสังคมวิทยา
ประการที่สอง
การต่อต้านความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจ และจริยธรรม ที่จะลงลึกไปในการศึกษาทางธุรกิจ
เราเรียกว่า separation thesis โดย Barney ได้เรียกร้องที่จะให้ทุกอย่างที่ชี้ให้เห็นถึงพื้นฐานของคำถามวิจัยเรื่องกลยุทธ์องค์กร
มีทุกสิ่งที่ทำโดยสมัครใจ มีวัตถุประสงค์ชัดเจน มีหลักการ การทำงานร่วมกัน ของคน
การติดตาม
Ethical Criticism of Corporate
Strategy Emerges
Freeman’s (1984) ได้พูดถึง ECCS Ethical criticism of corporate strategy ในหนังสือ Strategic
Management : A Stakeholder Approach โดย Freeman ได้กำหนด CEO คราวๆ ว่าคือคนผู้ซึ่ง จัดการ และเจรจา
กับกรณีของการใช้คน โดยเริ่มจากคนที่เกี่ยวข้องกับองค์กร
เพื่อกำหนดกลยุทธ์องค์กรที่ถูกต้อง
An unlikely impetus
กุญแจสำคัญของ ECCS ที่สำคัญอีกอย่างนึงมาจากแหล่งที่ไม่น่าจะเป็นไปได้
Michael Porter ได้เขียนเรื่อง competitive advantage
strategy ซึ่งมีคนอ่านมาก ซึ่งไม่ได้พูดถึงจริยธรรม
แต่เขาได้กล่าวว่า ธุรกิจต้องต่อสู้กันอย่างสูง และจะไม่ทำโดยขาดการพิจารณา
ซึ่งมีความหมายเชิงนัยเกี่ยวกับจริยธรรมนั้นเอง
A Stream of Ethical Criticisms of Corporate
Strategy
ตั้งแต่ ECCS ได้เริ่มมีการพูดถึง
กระแสของโครงการการวิจารณ์ทั้ง 5 ก็ได้ตีพิมพ์ขึ้น ในแต่ละ
การวิเคราะห์จุดเปลี่ยนของ กลยุทธ์องค์กรนำมาซึ่งการหาคำตอบของคำถามเรื่องจริยธรรม
ซึ่งจะได้กล่าวในรายละเอียดต่อไป
Five Critical analyses
ประการแรกกล่าวถึง “Strategy through process” ในความหมายของจริยธรรม ซึ่ง Strategy
through process ต้องการความร่วมมือในทำงาน
ประการที่สอง เรียกว่า corporate re- engineering เป็นกระบวนการในการร่วมมือกันเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุดขององค์กร
ประการที่สาม เรียกว่า “the prisoner’s dilemma” ซึ่งใช้ในทฤษฎีเกมส์ โดยมีนักโทษสองคน ถูกแยกสอบสวนโดยมีทางเลือก 2
ทางคือรับสารภาพ กับไม่รับสารภาพ
ซึ่งถ้ารับสารภาพจะได้รับการกันไว้เป็นพยาน และจำคุกคนที่ไม่รับสารภาพ
แต่ถ้ารับสารภาพทั้งคู่ ก็ได้ลดโทษครึ่งหนึ่ง
แต่ถ้าไม่รับสารภาพทั้งคู่ตำรวจก็อาจจะส่งฟ้องโดยมีหลักฐานไม่เพียงพอ
ทางเลือกที่ดีที่สุดคือไม่สารภาพทั้งคู่
แต่นักโทษมักจะไม่เลือกทางนี้เพราะไม่ไว้ใจอีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งการเลือกทางเลือกนี่เองได้อธิบายประเด็นของจริยธรรม
ในแง่ของการตัดสินใจ
ประการที่สี่ เป็นกระแสของการวิจารณ์จริยธรรมของกลยุทธ์องค์กร
ได้พูดถึงการแข่งขันในตลาด ความสัมพันธ์ของแนวคิดเรื่องกลยุทธ์องค์กร
ที่ส่งผ่านเป็นกระบวนการการตัดสินใจ
ประการที่ห้า
เป็นกระแสของการวิจารณ์จริยธรรมของกลยุทธ์องค์กรที่มีผลกระทบต่อภายนอก
Summary of this stream of ethical
criticism
ในแต่ละการวิเคราะห์
การวิจารณ์จริยธรรม ให้สองมาตราฐานของจริยธรรมคือ a ตัวแทนศีลธรรมเป็นอิสระต่อกัน b จริยธรรมขององค์กรมีผลต่อ ประชากร และสังคมอิสระภาพ
Ethical Criticisim of Corporate
Strategy Arrives at Two Destinations
การวิจารณ์จริยธรรมของกลยุทธ์องค์กร
ทำให้ได้พบกับ สองจุดหมายสำคัญ
ประการแรกคือ
กลยุทธ์องค์กรต้องเรียงร้อยเอาจริยธรรมไปพร้อมๆ กับการเมือง ในอีกทางหนึ่ง
มันคือพิมพ์เขียวที่สร้างระเบียบวินัย และความเจริญให้คน
ประการที่สอง การวิจารณ์จริยธรรมของกลยุทธ์องค์สามารถเริ่มสร้างจุดที่จะ
literature ที่ใช้ได้ดีในการสอนกลยุทธ์องค์กร เหมือนกับมนุษย์เริ่มจะมีชีวิต จริยธรรม
และการเมือง เป็นคุณค่าของการมีชีวิต
Conclusion
ECCS ขับเคลือนโดยไม่หยุดนิ่ง
สรุปในหนังสือ Alma Mater “I can't stop imagining how much better we
could be if we asked more of ourselves.” มันไม่ใช่ปลายทางของ ECCS
หรือสำหรับทุกๆการฝึกฝนของการวิจารณ์ กลยุทธ์องค์กรพัฒนามาตราฐานขึ้นเรื่อยๆ
สำหรับในอนาคต ECCS จะเป็นเพียงแคมเปญ ทีกำหนดความคาดหวังแนวคิดเรื่องกลยุทธ์องค์กรสามารถขับเคลือนได้มากกว่าจะเป็นเพียงหลักสูตรที่เรียนกันในสถาบันการศึกษาเท่านั้น
หรือเพียงเพื่อการโต้วาทีเกี่ยวกับอิสระภาพ ประชาธิปไตย และมากว่าที่จะพูดว่า “Corporation
X มีศักยภาพเหนือกว่า Corporation Y เพราะใช้กลยุทธ์องค์กร
S.”
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น