วันศุกร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2557

strategic Management Model of Agency Relationship in Firm Governance


การบริหารเชิงกลยุทธ์ ว่าด้วย รูปแบบของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแทน กับ การกำกับดูแลกิจการที่ดี

          หากจะกล่าวไปแล้วนั้นเรื่องทฤษฏีตัวแทนได้เริ่มมีการหยิบยกขึ้นมาเป็นประเด็นในการศึกษาราวปี ค.ศ. 1970 เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจมีความผันผวน และการบริหารงานภายใต้ข้อมูลที่ไม่ชัดเจน จึงมีการทำวิจัยในเรื่องการกำกับดูแลกิจการที่ดี เรื่องผลตอบแทนผู้บริหาร ความสามารถขององค์กร และกลยุทธ์ในการตัดสินใจ เช่น การเปลี่ยนธุรกิจ และการควบรวมกิจการ
ในบทความนี้เรากำลังสำรวจหาข้อจำกัดหลักของทฤษฏี โดยแสดงให้เห็นจากสิ่งที่เกิดขึ้น มิใช่ว่าเราต้องการจะล้มล้างทฤษฏี หากแต่เป็นการหยิบยกทฤษฏี ในแง่มุมต่างเพื่อใช้เป็นหัวข้อในการศึกษาต่อไป เราจะเริ่มจากการสรุปสมมุติฐานภายใต้รากฐานของ Agency model  ก่อนที่เราจะปรับ model เข้าไปหาสิ่งที่นักวิจัยนำไปใช้วิจัยกัน Jensen and Meckling (1976) มีการตั้งคำถามถึงความสัมพันธ์กันของ 4 คำอธิบาย อันแรกก็คือทฤษฏีนั้น กำเนิดจาก transcation base ซึ่งเป็นทฤษฏีต้นทุนและสภาบันทางเศรษฐศาสตร์ต่างๆ แนะนำทฤษฏีนี้ ทำไมทฤษฏีนี้จึงยังคงใช้อยู่และเป็นรากฐานประสบการณ์ที่อเมริกาใช้อธิบายประเด็นการกำกับดูแลกิจการ อันที่สอง เราจะกับไปดูข้อโต้แย้งของ  with Amihudand Lev (1981; 1999) และ Denis, Denis, and Sarin (1999) ที่ตั้งคำถามถึงความสามารถของ J/M Model ที่ใช้อธิบายประเด็นเรื่องการกำกับดูแลกิจการ อย่างกว้างขวางในอเมริกา อันที่สาม เราใช้เศรษฐศาสตร์การเมืองกำหนดข้อจำกัดของ J/M Model ในการอธิบายถึงเรื่อง Agency Problem อันดับสี่ เราจะใช้ เศรษฐศาตร์ครัวเรือน เพื่อชี้ให้เห็นว่าทำไม J/M Model ถึงสบประมาณ Agency Problem ใน family-owned และ Managed firms ด้วยสิ่งต่างๆ เหล่านี้เราแนะนำให้พัฒนาให้มากกว่า agency model ทั่วไป เพื่อให้ทฤษฏีคงอยู่ต่อไปและเป็นรากฐานของการบริหารเชิงกลยุทธ์

The Jensen-Meckling Model